Common School
16 November 2024Common School
29 October 2024จิรเมธ ช้างคล่อม
18 September 2024Common School
12 July 2024กุลธิดา รุ่งเรืองเกียรติ
2 July 2024ปารีสคอมมูน 1871 : เมื่อมนุษย์พยายามสร้างสังคมไร้การกดขี่
เหตุการณ์ปารีสคอมมูนนับเป็นหนึ่งในเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์ของชนชั้นกรรมาชีพฝรั่งเศส ในห้วงเวลาระหว่างการลุกฮือขึ้นสู้ตั้งแต่วันที่ 18 มีนาคม จนถึง “สัปดาห์นองเลือด” ในช่วงท้ายของเดือนพฤษภาคม 1871
ประชาธิปไตยไทยล้มลุกคลุกคลานไม่ใช่เพราะ “ชิงสุกก่อนห่าม” แต่เพราะการกลับมาของฝ่ายนิยมเจ้าในการรัฐประหาร 2490
บทความนี้ มาจากการสรุปเนื้อหาการบรรยาย “ตลาดวิชาอนาคตใหม่ – The Crown Strikes Back เมื่อเหล่ากษัตริย์นิยมโต้กลับการปฏิวัติ 2475” ในหัวข้อ “โฉมหน้าศักดินาไทยในรัฐประหาร 2490” โดยกษิดิศ อนันทนาธร เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2564 ซึ่งทาง Common School จัดขึ้นในโอกาสครบรอบ 74 ปี การรัฐประหาร 2490 การบรรยายครั้งนี้ กษิดิศจะนำทัวร์พาพวกเราไปพบกับที่ไปที่มาภูมิหลังของเหตุการณ์รัฐประหาร 2490 ตลอดจนตัวละครต่าง ๆ ที่มีบทบาทนำพาประเทศไทยไปสู่ “จุดตัด” ที่สำคัญในทางการเมือง รวมทั้งแนวคิดเบื้องหลังและมุมมองของกลุ่มฝ่ายต่าง ๆ ที่มีต่อการรัฐประหารในวันนั้น หากจะถามว่าวงจรอุบาทว์ในทางการเมืองไทย ที่มีการรัฐประหารแทบจะทุกทศวรรษ และมีระบอบการเมืองที่ไม่เป็นประชาธิปไตยเต็มใบได้เสียที ตลอดจนระบบเศรษฐกิจที่เหลื่อมล้ำสุดขั้วอย่างที่เป็นมาจนถึงทุกวันนี้ เริ่มต้นขึ้นที่ไหน คำตอบหนึ่งย่อมหนีไม่พ้นการรัฐประหาร 2490 ความยายามโต้กลับของกลุ่มนิยมเจ้าครั้งแรก ที่ประสบความสำเร็จในการขุดรากถอนโคนสิ่งที่คณะราษฎรพยายามวางรากฐานเอาไว้ให้เรา เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น เราขอชวนทุกคนร่วมกันอ่านไปกับเราได้ ในบทความสรุปการบรรยายชิ้นนี้ จาก 2475-2490 : การขับเคี่ยวระหว่างฝ่ายคณะราษฎรกับฝ่ายนิยมเจ้า กษิดิศเริ่มต้นการบรรยาย […]
ข้อเสนอที่มาก่อนกาลของขุนพลภูพาน ‘เตียง ศิริขันธ์’ ในการจัดการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
พระราชบัญญัติจัดการทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ พ.ศ. 2560 และ พ.ศ. 2561 ซึ่งออกโดยสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในยุคคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ถือเป็นการแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับการจัดการทรัพย์สินฯ ที่ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยยะสำคัญ
Common School
เรียนรู้ เข้าใจ เปลี่ยนโลก
การเอาชนะทางการเมือง การแย่งชิงสถาปนาอำนาจนำใหม่ การสร้างความยินยอมพร้อมใจ บังเกิดได้ด้วยการเอาชนะทางความคิด เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์นี้ มูลนิธิคณะก้าวหน้าได้ตั้งพื้นที่การศึกษาขึ้นมาในชื่อ Common School คำว่า “Common” ใน Common School นี้ ประกอบไปด้วย 3 ความหมาย ได้แก่