
Seed Demo - ตัวอย่างการเขียนโค้ด
SLIDER • HEADLINE
SLIDER • HERO
SLIDER • CARD
SLIDER • CAPTION
GRID • HERO
ปารีสคอมมูน 1871 : เมื่อมนุษย์พยายามสร้างสังคมไร้การกดขี่
เหตุการณ์ปารีสคอมมูนนับเป็นหนึ่งในเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์ของชนชั้นกรรมาชีพฝรั่งเศส ในห้วงเวลาระหว่างการลุกฮือขึ้นสู้ตั้งแต่วันที่ 18 มีนาคม จนถึง “สัปดาห์นองเลือด” ในช่วงท้ายของเดือนพฤษภาคม 1871

Common School
1 June 2022ประชาธิปไตยไทยล้มลุกคลุกคลานไม่ใช่เพราะ “ชิงสุกก่อนห่าม” แต่เพราะการกลับมาของฝ่ายนิยมเจ้าในการรัฐประหาร 2490
facebooktwitterlineSHAREบทความนี้ มาจากการสรุปเนื้อหาการบรรยาย “ตลาดวิชาอนาคตใหม่ – The Crown Strikes Back เมื่อเหล่ากษัตริย์นิยมโต้กลับการปฏิวัติ 2475” ในหัวข้อ “โฉมหน้าศักดินาไทยในรัฐประหาร 2490” โดยกษิดิศ อนันทนาธร เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2564 ซึ่งทาง Common School จัดขึ้นในโอกาสครบรอบ 74 ปี การรัฐประหาร 2490 การบรรยายครั้งนี้ กษิดิศจะนำทัวร์พาพวกเราไปพบกับที่ไปที่มาภูมิหลังของเหตุการณ์รัฐประหาร 2490 ตลอดจนตัวละครต่าง ๆ ที่มีบทบาทนำพาประเทศไทยไปสู่ “จุดตัด” ที่สำคัญในทางการเมือง รวมทั้งแนวคิดเบื้องหลังและมุมมองของกลุ่มฝ่ายต่าง ๆ ที่มีต่อการรัฐประหารในวันนั้น หากจะถามว่าวงจรอุบาทว์ในทางการเมืองไทย ที่มีการรัฐประหารแทบจะทุกทศวรรษ และมีระบอบการเมืองที่ไม่เป็นประชาธิปไตยเต็มใบได้เสียที ตลอดจนระบบเศรษฐกิจที่เหลื่อมล้ำสุดขั้วอย่างที่เป็นมาจนถึงทุกวันนี้ เริ่มต้นขึ้นที่ไหน คำตอบหนึ่งย่อมหนีไม่พ้นการรัฐประหาร 2490 ความยายามโต้กลับของกลุ่มนิยมเจ้าครั้งแรก ที่ประสบความสำเร็จในการขุดรากถอนโคนสิ่งที่คณะราษฎรพยายามวางรากฐานเอาไว้ให้เรา เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น เราขอชวนทุกคนร่วมกันอ่านไปกับเราได้ ในบทความสรุปการบรรยายชิ้นนี้ จาก 2475-2490 : การขับเคี่ยวระหว่างฝ่ายคณะราษฎรกับฝ่ายนิยมเจ้า กษิดิศเริ่มต้นการบรรยาย […]

Common School
19 January 2022ข้อเสนอที่มาก่อนกาลของขุนพลภูพาน ‘เตียง ศิริขันธ์’ ในการจัดการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
พระราชบัญญัติจัดการทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ พ.ศ. 2560 และ พ.ศ. 2561 ซึ่งออกโดยสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในยุคคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ถือเป็นการแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับการจัดการทรัพย์สินฯ ที่ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยยะสำคัญ

Common School
24 February 2021ภาพยนตร์เรื่อง Z กับการเปลี่ยนผ่านเผด็จการสู่ประชาธิปไตยของกรีซ
ใครคือ Costa-Gavras ภาพยนตร์เรื่อง Z และเหตุการณ์ในเรื่องสำคัญต่อการเปลี่ยนผ่านในการเมืองกรีกอย่างไร ปิยบุตร แสงกนกกุล ได้บรรยายไว้อย่างละเอียดแล้วที่ Doc Club & Pub เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2566

อภิสิทธิ์ เรือนมูล
16 August 2023GRID • CARD

Common School
1 June 2022
Common School
19 January 2022
Common School
24 February 2021
Common School
12 February 2022
กษิดิศ อนันทนาธร
2 April 2022
เพ็ญพิสาข์ ศรีวรนารถ
29 April 2022GRID • LIST • PAGINATION
นี่โอชันเนียใน 1984 หรือประเทศไทยกันแน่?
วรรณกรรม 1984 อำนาจรัฐ การจำกัดเสรีภาพ ทุนนิยม ซึ่งทั้งหมดยังคงเป็นประเด็นร่วมสมัย แม้ว่าวรรณกรรมเล่มนี้จะตีพิมพ์มาแล้วกว่าหลายทศวรรษ
ปลดปล่อยพันธการสู่จิตวิญญาณเสรี
แม้ว่าปฏิบัติการต่อต้านขัดขืนเหล่านี้ไม่ได้เป็นปฏิบัติการที่ยิ่งใหญ่หรือสามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ในเชิงโครงสร้างอย่างฉับพลัน แต่ปฏิบัติการต่อต้านขัดขืนในชีวิตประจำวันเล็กๆ น้อยๆ จะค่อยๆ ก่อตัวขึ้นเป็นแนวปะการังที่ซ้อนตัวอยู่ใต้น้ำ เมื่อถึงเวลาสถานการณ์ที่เหมาะสมก็อาจทำให้เรือของผู้ปกครองอับปางก็เป็นได้
ฝันร้ายที่กลายเป็นจริง
เรื่องแต่งดิสโทเปียจากศตวรรษก่อนที่กลายเป็นจริงแล้วในปัจจุบัน นี่คือฝันร้าย ที่คุณไม่มีทางตื่นจากมัน!
ถอดบทเรียนการต่อต้านรัฐประหารในเมียนมาร์
บทเรียนสำคัญ ยุทธิวธี ปัจจัยความสำเร็จ จากเมียนมาร์ สำหรับเตรียมความพร้อมเพื่อต่อต้านการรัฐประหารในประเทศไทย
การอ่านเป็นเรื่องของวัยเยาว์
facebooktwitterlineSHAREก้อย เดินจูงมือข้าพเจ้าในวัยเยาว์เข้าไปยังห้องสมุด ผมยาวดำขลับเส้นหนาที่ถักเป็นเปียนูนดูเรียบร้อยของเธอช่างต่างกับผมเส้นเล็กสีอ่อนอันยุ่งเหยิงของข้าพเจ้าในยามนั้นชัดเจน เธอพาข้าพเจ้าเดินผ่านครูบรรณารักษ์เข้ามาถึงชั้นหนังสือ แล้วแจ้งกับข้าพเจ้าว่าหนังสือเรื่องขบวนการนกกางเขนที่เคยให้ข้าพเจ้ายืมนั้นเธอก็ยืมมาจากห้องสมุดอีกที ก่อนจะปล่อยให้ข้าพเจ้าเดินเลือกหนังสือบนชั้นหนังสือสักเล่มหนึ่ง “คนหนึ่งยืมหนังสือได้ไม่เกินสามเล่ม แล้วก็ต้องเอามาคืนในเจ็ดวันนะ ถึงจะยืมใหม่ได้ รอบนี้เราจะยืมให้ก่อน แล้ววันนี้กอฟทำบัตรห้องสมุดเลยนะ จะได้มายืมหนังสือไปอ่านได้” ข้าพเจ้าเอออออย่างว่าง่ายกับข้อเสนอของก้อย ก่อนจะหยิบหนังสือภาพที่หน้าปกสะดุดตาขึ้นมา ข้าพเจ้ามักจะเลือกหนังสือจากหน้าปกก่อนเสมอ ใครจะบอกว่าอย่าตัดสินหนังสือจากปกก็เถอะ อย่างน้อยถ้าเนื้อในมันไม่ดีก็ขอให้มีที่วางสำหรับปกสวยๆ ก็ยังดีน่า “เทพนิยายกรีก” เป็นหนังสือเล่มแรกที่ข้าพเจ้ายืมจากห้องสมุดด้วยชื่อของก้อย ตอนที่พวกเราเรียนอยู่ชั้นประถมสาม หลังจากนั้นข้าพเจ้าก็ใช้ห้องสมุดเป็นที่พึ่งพิงมาเรื่อยๆ แต่ ข้าพเจ้าไม่ใช่คนรักการอ่าน ข้าพเจ้าไม่ชอบอ่านหนังสือ ใช่ อันนี้จริงจัง ข้าพเจ้าไม่ใช่หนอนหนังสืออย่างที่ใครๆ คิด แต่ที่ข้าพเจ้าต้องอ่านหนังสือ เพราะชีวิตข้าพเจ้าในตอนนั้นมีทางเลือกน้อยกว่าคนอื่นต่างหาก ชีวิตเด็กบ้านนอกที่ต้องนั่งรถรับส่งนักเรียนมาเรียนในโรงเรียนคาทอลิคราคาแพงเป็นระยะทางเจ็ดสิบกว่ากิโลทุกวัน รายล้อมไปด้วยเพื่อนที่มาจากครอบครัวมีฐานะมากกว่า พวกเขามีเพจเจอร์ มีโทรศัพท์บ้าน มียูบีซีและเอ็มทีวีให้ดู มีทามาก๊อตจิ มีเครื่องเขียนดีๆ และมีคลาสเรียนพิเศษ ในขณะที่ชีวิตของข้าพเจ้าในวันเสาร์อาทิตย์นั้นคือการสร้างอาณาจักรตุ๊กตา ปั่นจักรยาน ขุดจิ้งหรีด จับผีเสื้อ จับแมลงเต่าทอง และ ดูทีวีช่องธรรมดา แหนะ คิดถึงเรื่องความสุขของแม่หนูกะทิกันละเซ่ มันก็ไม่ได้สุขอะไรมากมายขนาดนั้นหรอกน่า เอาไว้มีเวลาจะเล่ายาวๆให้ฟัง รอบนี้เขาให้เขียนแค่เรื่องอ่านหนังสือหนะนะ เอาเข้าจริงถ้ามองจากตรงนี้ ชีวิตข้าพเจ้าก็ไม่ได้มีปัญหาอะไรนอกจากการคุยกับเพื่อนไม่รู้เรื่อง เหมือนกับที่ตอนนี้เขาคุยกันผ่าน แอปพลิเคชันคลับเฮ้าส์ […]
ข้อเสนอที่มาก่อนกาลของขุนพลภูพาน ‘เตียง ศิริขันธ์’ ในการจัดการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
พระราชบัญญัติจัดการทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ พ.ศ. 2560 และ พ.ศ. 2561 ซึ่งออกโดยสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในยุคคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ถือเป็นการแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับการจัดการทรัพย์สินฯ ที่ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยยะสำคัญ
GRID • CAPTION
GRID • CARD • HIDE SUMMARY
GRID • CONTENT
ปารีสคอมมูน 1871 : เมื่อมนุษย์พยายามสร้างสังคมไร้การกดขี่
เหตุการณ์ปารีสคอมมูนนับเป็นหนึ่งในเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์ของชนชั้นกรรมาชีพฝรั่งเศส ในห้วงเวลาระหว่างการลุกฮือขึ้นสู้ตั้งแต่วันที่ 18 มีนาคม จนถึง “สัปดาห์นองเลือด” ในช่วงท้ายของเดือนพฤษภาคม 1871
ประชาธิปไตยไทยล้มลุกคลุกคลานไม่ใช่เพราะ “ชิงสุกก่อนห่าม” แต่เพราะการกลับมาของฝ่ายนิยมเจ้าในการรัฐประหาร 2490
facebooktwitterlineSHAREบทความนี้ มาจากการสรุปเนื้อหาการบรรยาย “ตลาดวิชาอนาคตใหม่ – The Crown Strikes Back เมื่อเหล่ากษัตริย์นิยมโต้กลับการปฏิวัติ 2475” ในหัวข้อ “โฉมหน้าศักดินาไทยในรัฐประหาร 2490” โดยกษิดิศ อนันทนาธร เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2564 ซึ่งทาง Common School จัดขึ้นในโอกาสครบรอบ 74 ปี การรัฐประหาร 2490 การบรรยายครั้งนี้ กษิดิศจะนำทัวร์พาพวกเราไปพบกับที่ไปที่มาภูมิหลังของเหตุการณ์รัฐประหาร 2490 ตลอดจนตัวละครต่าง ๆ ที่มีบทบาทนำพาประเทศไทยไปสู่ “จุดตัด” ที่สำคัญในทางการเมือง รวมทั้งแนวคิดเบื้องหลังและมุมมองของกลุ่มฝ่ายต่าง ๆ ที่มีต่อการรัฐประหารในวันนั้น หากจะถามว่าวงจรอุบาทว์ในทางการเมืองไทย ที่มีการรัฐประหารแทบจะทุกทศวรรษ และมีระบอบการเมืองที่ไม่เป็นประชาธิปไตยเต็มใบได้เสียที ตลอดจนระบบเศรษฐกิจที่เหลื่อมล้ำสุดขั้วอย่างที่เป็นมาจนถึงทุกวันนี้ เริ่มต้นขึ้นที่ไหน คำตอบหนึ่งย่อมหนีไม่พ้นการรัฐประหาร 2490 ความยายามโต้กลับของกลุ่มนิยมเจ้าครั้งแรก ที่ประสบความสำเร็จในการขุดรากถอนโคนสิ่งที่คณะราษฎรพยายามวางรากฐานเอาไว้ให้เรา เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น เราขอชวนทุกคนร่วมกันอ่านไปกับเราได้ ในบทความสรุปการบรรยายชิ้นนี้ จาก 2475-2490 : การขับเคี่ยวระหว่างฝ่ายคณะราษฎรกับฝ่ายนิยมเจ้า กษิดิศเริ่มต้นการบรรยาย […]
ข้อเสนอที่มาก่อนกาลของขุนพลภูพาน ‘เตียง ศิริขันธ์’ ในการจัดการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
พระราชบัญญัติจัดการทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ พ.ศ. 2560 และ พ.ศ. 2561 ซึ่งออกโดยสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในยุคคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ถือเป็นการแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับการจัดการทรัพย์สินฯ ที่ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยยะสำคัญ
กายวิภาครัฐไทย : กลไกอำนาจรัฐและอำนาจนำในสังคมไทย
facebooktwitterlineSHAREเมื่อรัฐไทยปะทะโควิด-19 วิกฤตการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตและสังคมโลกอย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ประชาชนทั่วโลกได้รับคำแนะนำให้กักตัวอยู่ในบ้าน หากจะออกนอกบ้านก็ต้องปฏิบัติตัวตาม “หลักการเว้นระยะห่าง” (Social Distancing) เพื่อรักษาสุขภาพของกันและกัน ภาคธุรกิจโลกทั้งยักษ์ใหญ่และรายย่อยถูกสั่งให้หยุดงาน หลายๆ แห่งกระทบหนักจนต้องปิดตัวลงส่งผลให้เกิดการว่างงานครั้งใหญ่ทั่วโลก โดยสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยประเมินว่าจะมีคนไทยตกงานร่วม 8 ล้านคนภายในสิ้นปีนี้ วิกฤตครั้งนี้ได้เปิดเผยให้เห็นว่า รัฐแต่ละรัฐมีจุดอ่อนจุดแข็งอยู่ตรงไหน สำหรับรัฐไทยเจอกับความบกพร่องเยอะในช่วงแรก เพราะ การไม่ประสานกันทำงานในหน่วยงานราชการ แต่ก็ตั้งหลักและควบคุมการระบาดของโรคนี้ได้ ด้วยปัจจัยสำคัญ 2 ตัว คือ 1.ปัจจัยเชิงโครงสร้างที่มีระบบสาธารณสุขดี คือ ประเทศไทยมีโครงสร้างพื้นฐานในทางการแพทย์ที่ดี มั่นคง และมีประสิทธิภาพตั้งแต่หลังรัฐธรรมนูญปี 2540 เป็นต้นมา รวมทั้งยังมีมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่มีประสิทธิภาพเป็นอันดับต้นๆของโลก 2.ปัจจัยทางสังคมที่ประชาชนไทยให้ความร่วมมือกับมาตราการเว้นระอย่างดี ไม่ว่าในแง่มาตราการการใส่หน้ากากอนามัย การเว้นระยะห่างทางสังคม การเสียสละแล้วยอมหยุดอยู่บ้าน ถึงการควบคุมการระบาดจะประสบความสำเร็จ ไม่มีผู้ติดเชื้อกันภายในประเทศเป็นระยะเวลายาวนานแล้ว แต่ระยะต่อไปจะเป็นส่วนที่ยากขึ้นสำหรับรัฐบาล นั้นคือ “ระยะการฟื้นฟูประเทศ” ในแง่ทางเศรษฐกิจที่นักเศรษฐศาสตร์ทุกสำนักวิเคราะห์ไปในทิศทางเดียวกันว่าจะเป็น มหาวิกฤตเศรษฐกิจ และจะลามไปถึงวิกฤตทางสังคมด้วย ไปถึงเรื่องปัญหาสุขภาพจิต คนตกงาน คนขาดรายได้ และจะนำไปสู่ปัญหาอาชญากรรมอื่น ๆ ดังนั้น “รัฐที่ประสบความสำเร็จในการควบคุมโรคระบาดในระยะแรก อาจจะไม่ใช่รัฐที่จะสามารถฟื้นฟูประเทศได้หลังจากนี้” […]
Barbenheimer: ปรมาณูสีชมพูที่ปลุกชีพโรงภาพยนตร์
ทำไมในปีที่คำว่า Flopbuster ถูกผลิตขึ้นมาเพื่ออธิบายความล้มเหลวทางรายได้ของภาพยนตร์ฮอลลีวูด Barbie และ Oppenheimer ที่ต่างกันสุดขั้วกลับช่วยชุบชีวิตอุตสาหกรรมขึ้นมา
ปฐมนิเทศ ‘เบิกโรง’ ตลาดวิชาอนาคตใหม่ x ธงชัย วินิจจะกูล : ประวัติศาสตร์นอกขนบ
facebooktwitterlineSHAREบทความนี้เป็นการถอดเสียงจากการปฐมนิเทศ ‘เบิกโรง’ ประวัติศาสตร์นอกขนบ ภายใต้โครงการ ‘ตลาดวิชาอนาคตใหม่’ Common School คณะก้าวหน้า เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2021 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร. ปิยบุตร แสงกนกกุล เป็นผู้กล่าวเปิดโครงการศาสตราจารย์ ดร. ธงชัย วินิจจะกูลเป็นผู้บรรยายหลัก โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ลลิตา หาญวงษ์ อาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้เชี่ยวชาญด้านประเทศเมียนมาร์และอาเซียน และอาจารย์คงสัจจา สุวรรณเพ็ชร อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ดำเนินรายการในวันบรรยายจริง เข้าร่วมพูดคุยในกิจกรรมด้วย เนื่องด้วยสถานการณ์โรคระบาดโควิด-19 เราจึงจัดกิจกรรมทั้งหมดผ่าน Zoom Video Conference เพื่อหลีกเลี่ยงการพบปะกันในที่สาธารณะ แม้จะเป็นกิจกรรมออนไลน์แต่ก็มีผู้เข้าร่วมฟังการถ่ายทอดสดและตั้งคำถามชวนพูดคุยกับวิทยากรตลอดกิจกรรม ทำไมจึงต้องมี ‘ตลาดวิชา’ โดย ปิยบุตร แสงกนกกุล ปิยบุตรเริ่มต้นด้วยการอธิบายหลักการและเหตุผลของการเปิดโครงการนี้ว่า การเปิดตลาดวิชาอนาคตใหม่ในครั้งนี้ เกิดจากพื้นฐานความคิดที่ว่า การเปลี่ยนแปลงอำนาจขนาดใหญ่นั้น ไม่สามารถทำได้อย่างง่ายดายด้วยกำลังอาวุธจากการยึดอำนาจ อาวุธอาจเป็นเครื่องมือในการยึดเพียงสิ่งสร้างทางกายภาพ การโหวตในสภาด้วยเสียงข้างมากอาจสร้างนโยบายใหม่ๆ ขึ้นมาได้ […]
GRID • DATE
ปารีสคอมมูน 1871 : เมื่อมนุษย์พยายามสร้างสังคมไร้การกดขี่
ประชาธิปไตยไทยล้มลุกคลุกคลานไม่ใช่เพราะ “ชิงสุกก่อนห่าม” แต่เพราะการกลับมาของฝ่ายนิยมเจ้าในการรัฐประหาร 2490
ข้อเสนอที่มาก่อนกาลของขุนพลภูพาน ‘เตียง ศิริขันธ์’ ในการจัดการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
ธงชัย วินิจจะกุล: หน้าใหม่ของประวัติศาสตร์ประชาธิปไตยไทยหลัง 14 พฤษภาฯ
อย่าตายนะ มีชีวิตรอดต่อไปให้ได้ : Attack on Titan
“Jurisprudence” ภาพวาดวิพากษ์ระบบยุติธรรมอัปยศของ Gustav Klimt
“หยุด ปุ๊กกี้ อย่าเอาทองไปลูบกระเบื้อง”: แจ๋วกับสังคมยุคนักการเมืองเลว
ส่องหนังสเปนใต้เงาเผด็จการ
แนะนำหนังสือ : A Brief History of Equality โดยโทมัส ปิเกตตี้
ICONS
- Using PHP Function
<?php seed_icon('ICON_NAME'); ?>
, such as<?php seed_icon('activity'); ?>
. - Using Shortcode
[s_icon i="ICON_NAME"]
, such as[s_icon i="activity"]
.