Seed Demo - ตัวอย่างการเขียนโค้ด
SLIDER • HEADLINE
SLIDER • HERO
SLIDER • CARD
SLIDER • CAPTION
GRID • HERO
ปารีสคอมมูน 1871 : เมื่อมนุษย์พยายามสร้างสังคมไร้การกดขี่
เหตุการณ์ปารีสคอมมูนนับเป็นหนึ่งในเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์ของชนชั้นกรรมาชีพฝรั่งเศส ในห้วงเวลาระหว่างการลุกฮือขึ้นสู้ตั้งแต่วันที่ 18 มีนาคม จนถึง “สัปดาห์นองเลือด” ในช่วงท้ายของเดือนพฤษภาคม 1871
Common School
1 June 2022ประชาธิปไตยไทยล้มลุกคลุกคลานไม่ใช่เพราะ “ชิงสุกก่อนห่าม” แต่เพราะการกลับมาของฝ่ายนิยมเจ้าในการรัฐประหาร 2490
facebooktwitterlineSHAREบทความนี้ มาจากการสรุปเนื้อหาการบรรยาย “ตลาดวิชาอนาคตใหม่ – The Crown Strikes Back เมื่อเหล่ากษัตริย์นิยมโต้กลับการปฏิวัติ 2475” ในหัวข้อ “โฉมหน้าศักดินาไทยในรัฐประหาร 2490” โดยกษิดิศ อนันทนาธร เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2564 ซึ่งทาง Common School จัดขึ้นในโอกาสครบรอบ 74 ปี การรัฐประหาร 2490 การบรรยายครั้งนี้ กษิดิศจะนำทัวร์พาพวกเราไปพบกับที่ไปที่มาภูมิหลังของเหตุการณ์รัฐประหาร 2490 ตลอดจนตัวละครต่าง ๆ ที่มีบทบาทนำพาประเทศไทยไปสู่ “จุดตัด” ที่สำคัญในทางการเมือง รวมทั้งแนวคิดเบื้องหลังและมุมมองของกลุ่มฝ่ายต่าง ๆ ที่มีต่อการรัฐประหารในวันนั้น หากจะถามว่าวงจรอุบาทว์ในทางการเมืองไทย ที่มีการรัฐประหารแทบจะทุกทศวรรษ และมีระบอบการเมืองที่ไม่เป็นประชาธิปไตยเต็มใบได้เสียที ตลอดจนระบบเศรษฐกิจที่เหลื่อมล้ำสุดขั้วอย่างที่เป็นมาจนถึงทุกวันนี้ เริ่มต้นขึ้นที่ไหน คำตอบหนึ่งย่อมหนีไม่พ้นการรัฐประหาร 2490 ความยายามโต้กลับของกลุ่มนิยมเจ้าครั้งแรก ที่ประสบความสำเร็จในการขุดรากถอนโคนสิ่งที่คณะราษฎรพยายามวางรากฐานเอาไว้ให้เรา เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น เราขอชวนทุกคนร่วมกันอ่านไปกับเราได้ ในบทความสรุปการบรรยายชิ้นนี้ จาก 2475-2490 : การขับเคี่ยวระหว่างฝ่ายคณะราษฎรกับฝ่ายนิยมเจ้า กษิดิศเริ่มต้นการบรรยาย […]
Common School
19 January 2022ข้อเสนอที่มาก่อนกาลของขุนพลภูพาน ‘เตียง ศิริขันธ์’ ในการจัดการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
พระราชบัญญัติจัดการทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ พ.ศ. 2560 และ พ.ศ. 2561 ซึ่งออกโดยสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในยุคคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ถือเป็นการแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับการจัดการทรัพย์สินฯ ที่ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยยะสำคัญ
Common School
24 February 2021อ่านความยุติธรรม ย้อนคิดความยุติธรรมไทย
วันเสาร์ ที่ 8 พฤษภาคม 2564 Common School หยิบหนังสือ ‘ความยุติธรรม (Justice: What’s the right thing to do)’ ของไมเคิล เจ แซนเดล ศาสตราจารย์ด้านปรัชญาการเมืองประจำมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด มาชวนพูดคุยใน Reading Group ครั้งที่ 9
iambuggo
18 May 2021GRID • CARD
Common School
1 June 2022Common School
19 January 2022Common School
24 February 2021อภิสิทธิ์ เรือนมูล
22 October 2022Common School
27 December 2021Common School
13 October 2023GRID • LIST • PAGINATION
ปารีสคอมมูน 1871 : เมื่อมนุษย์พยายามสร้างสังคมไร้การกดขี่
เหตุการณ์ปารีสคอมมูนนับเป็นหนึ่งในเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์ของชนชั้นกรรมาชีพฝรั่งเศส ในห้วงเวลาระหว่างการลุกฮือขึ้นสู้ตั้งแต่วันที่ 18 มีนาคม จนถึง “สัปดาห์นองเลือด” ในช่วงท้ายของเดือนพฤษภาคม 1871
ประชาธิปไตยไทยล้มลุกคลุกคลานไม่ใช่เพราะ “ชิงสุกก่อนห่าม” แต่เพราะการกลับมาของฝ่ายนิยมเจ้าในการรัฐประหาร 2490
facebooktwitterlineSHAREบทความนี้ มาจากการสรุปเนื้อหาการบรรยาย “ตลาดวิชาอนาคตใหม่ – The Crown Strikes Back เมื่อเหล่ากษัตริย์นิยมโต้กลับการปฏิวัติ 2475” ในหัวข้อ “โฉมหน้าศักดินาไทยในรัฐประหาร 2490” โดยกษิดิศ อนันทนาธร เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2564 ซึ่งทาง Common School จัดขึ้นในโอกาสครบรอบ 74 ปี การรัฐประหาร 2490 การบรรยายครั้งนี้ กษิดิศจะนำทัวร์พาพวกเราไปพบกับที่ไปที่มาภูมิหลังของเหตุการณ์รัฐประหาร 2490 ตลอดจนตัวละครต่าง ๆ ที่มีบทบาทนำพาประเทศไทยไปสู่ “จุดตัด” ที่สำคัญในทางการเมือง รวมทั้งแนวคิดเบื้องหลังและมุมมองของกลุ่มฝ่ายต่าง ๆ ที่มีต่อการรัฐประหารในวันนั้น หากจะถามว่าวงจรอุบาทว์ในทางการเมืองไทย ที่มีการรัฐประหารแทบจะทุกทศวรรษ และมีระบอบการเมืองที่ไม่เป็นประชาธิปไตยเต็มใบได้เสียที ตลอดจนระบบเศรษฐกิจที่เหลื่อมล้ำสุดขั้วอย่างที่เป็นมาจนถึงทุกวันนี้ เริ่มต้นขึ้นที่ไหน คำตอบหนึ่งย่อมหนีไม่พ้นการรัฐประหาร 2490 ความยายามโต้กลับของกลุ่มนิยมเจ้าครั้งแรก ที่ประสบความสำเร็จในการขุดรากถอนโคนสิ่งที่คณะราษฎรพยายามวางรากฐานเอาไว้ให้เรา เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น เราขอชวนทุกคนร่วมกันอ่านไปกับเราได้ ในบทความสรุปการบรรยายชิ้นนี้ จาก 2475-2490 : การขับเคี่ยวระหว่างฝ่ายคณะราษฎรกับฝ่ายนิยมเจ้า กษิดิศเริ่มต้นการบรรยาย […]
ข้อเสนอที่มาก่อนกาลของขุนพลภูพาน ‘เตียง ศิริขันธ์’ ในการจัดการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
พระราชบัญญัติจัดการทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ พ.ศ. 2560 และ พ.ศ. 2561 ซึ่งออกโดยสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในยุคคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ถือเป็นการแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับการจัดการทรัพย์สินฯ ที่ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยยะสำคัญ
การจัดการน้ำแบบกระจายอำนาจ จะช่วยแก้ปัญหาเรื่องน้ำท่วมได้จริงหรือ?
หนึ่งในข้อถกเถียงกลางวิกฤตน้ำท่วมคือ การจัดการปัญหาน้ำท่วม ควรให้ส่วนกลางดูแล หรือกระจายอำนาจให้แต่ละท้องที่จัดการกันเอง จิรเมธ ช้างคล่อม อาจารย์วิศกรรมทรัพยากรน้ำ มีความเห็นบางส่วนที่ชวนเราขบคิดต่อเพื่อรับมือกับภัยพิบัติ ณ ปัจจุบัน และในอนาคต
ทับลานทับใคร? รู้จักป่าการเมืองกับอำนาจในความหมายของที่ดินป่าไม้ ก่อน #saveทับลาน
สำรวจกรอบคิดและวาทกรรมที่ผูกโยงกันเป็นความสัมพันธ์สามเส้าระหว่างรัฐ-ทุนนิยม-ที่ดิน (อุทยาน/ป่าไม้) ประวัติศาสตร์ของอุทยานทับลานในบริบทสงครามเย็น ทั้งยังมีข้อเสนอที่จะเป็นทางออกของปัญหา
มูมินมีเพศอะไร? ไปให้ไกลกว่าความหลากหลายทางเพศ ผ่านตัวการ์ตูนที่โด่งดังที่สุดของฟินแลนด์
มูมิน โทรลนุ่มนิ่มสีขาวนวลจากฟินแลนด์นั้น หากดูเผินๆ จะเห็นว่ามูมินและครอบครัวก็ดูจะเป็นตัวละครที่มีบทบาทชัดเจน แม่เป็นแม่ พ่อเป็นพ่อ แต่ตัวละครต่างๆ ในหุบเขามูมินนั้นมีความเป็นหญิงชายตามขนบทั่วไปหรือไม่?
“อย่าได้คืบจะเอาศอกได้มั้ยครับ”: เมื่อการเหยียดเพศหลากหลาย คนข้ามเพศ ไม่เคยหายจากสังคมทั่วโลก แม้มีกฏหมาย #สมรสเท่าเทียม
สมรสเท่าเทียมผ่านแล้วมีเรื่องอะไรให้ต่อสู้เรียกร้องต่อ? Toxic Masculinity ยังมีในสังคมอย่างไรบ้าง? ทำไมนโยบายของมหาวิทยาลัยถึงอาจเป็นเพียงแค่การ “สร้างภาพความเท่าเทียม”?
เดินดูมรดกคณะราษฎรแบบวันเดียวจบ ตามรอยอภิวัฒน์สยาม
ในวาระครบรอบ 92 ปี Common School ขอร่วมรำลึกถึงคณะราษฎรและการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ด้วยการนำเสนอแลนมาร์กสำหรับใช้เป็นเส้นทางเดินเท้า เพื่อชมและดื่มดำประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมคณะราษฎรที่ยังหลงเหลืออยู่(บ้าง) เดินดูได้แบบวันเดียวจบ
ทำไมเราจำเป็นต้องทำให้บ้านอองโตนี เป็นพิพิธภัณฑสถาน
บ้านอองโตนี สถานพำนักสุดท้ายของปรีดี พนมยงค์ กำลังจะกลายเป็นพิพิธภัณฑสถานทางประวัติศาสตร์แห่งใหม่ ณ ฝรั่งเศส ทำไมบ้านหลังนี้ถึงมีความสำคัญกับคนไทยและประวัติศาสตร์ไทย?
GRID • CAPTION
GRID • CARD • HIDE SUMMARY
GRID • CONTENT
ปารีสคอมมูน 1871 : เมื่อมนุษย์พยายามสร้างสังคมไร้การกดขี่
เหตุการณ์ปารีสคอมมูนนับเป็นหนึ่งในเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์ของชนชั้นกรรมาชีพฝรั่งเศส ในห้วงเวลาระหว่างการลุกฮือขึ้นสู้ตั้งแต่วันที่ 18 มีนาคม จนถึง “สัปดาห์นองเลือด” ในช่วงท้ายของเดือนพฤษภาคม 1871
ประชาธิปไตยไทยล้มลุกคลุกคลานไม่ใช่เพราะ “ชิงสุกก่อนห่าม” แต่เพราะการกลับมาของฝ่ายนิยมเจ้าในการรัฐประหาร 2490
facebooktwitterlineSHAREบทความนี้ มาจากการสรุปเนื้อหาการบรรยาย “ตลาดวิชาอนาคตใหม่ – The Crown Strikes Back เมื่อเหล่ากษัตริย์นิยมโต้กลับการปฏิวัติ 2475” ในหัวข้อ “โฉมหน้าศักดินาไทยในรัฐประหาร 2490” โดยกษิดิศ อนันทนาธร เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2564 ซึ่งทาง Common School จัดขึ้นในโอกาสครบรอบ 74 ปี การรัฐประหาร 2490 การบรรยายครั้งนี้ กษิดิศจะนำทัวร์พาพวกเราไปพบกับที่ไปที่มาภูมิหลังของเหตุการณ์รัฐประหาร 2490 ตลอดจนตัวละครต่าง ๆ ที่มีบทบาทนำพาประเทศไทยไปสู่ “จุดตัด” ที่สำคัญในทางการเมือง รวมทั้งแนวคิดเบื้องหลังและมุมมองของกลุ่มฝ่ายต่าง ๆ ที่มีต่อการรัฐประหารในวันนั้น หากจะถามว่าวงจรอุบาทว์ในทางการเมืองไทย ที่มีการรัฐประหารแทบจะทุกทศวรรษ และมีระบอบการเมืองที่ไม่เป็นประชาธิปไตยเต็มใบได้เสียที ตลอดจนระบบเศรษฐกิจที่เหลื่อมล้ำสุดขั้วอย่างที่เป็นมาจนถึงทุกวันนี้ เริ่มต้นขึ้นที่ไหน คำตอบหนึ่งย่อมหนีไม่พ้นการรัฐประหาร 2490 ความยายามโต้กลับของกลุ่มนิยมเจ้าครั้งแรก ที่ประสบความสำเร็จในการขุดรากถอนโคนสิ่งที่คณะราษฎรพยายามวางรากฐานเอาไว้ให้เรา เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น เราขอชวนทุกคนร่วมกันอ่านไปกับเราได้ ในบทความสรุปการบรรยายชิ้นนี้ จาก 2475-2490 : การขับเคี่ยวระหว่างฝ่ายคณะราษฎรกับฝ่ายนิยมเจ้า กษิดิศเริ่มต้นการบรรยาย […]
ข้อเสนอที่มาก่อนกาลของขุนพลภูพาน ‘เตียง ศิริขันธ์’ ในการจัดการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
พระราชบัญญัติจัดการทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ พ.ศ. 2560 และ พ.ศ. 2561 ซึ่งออกโดยสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในยุคคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ถือเป็นการแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับการจัดการทรัพย์สินฯ ที่ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยยะสำคัญ
การอ่านเป็นเรื่องของวัยเยาว์
ก้อย เดินจูงมือข้าพเจ้าในวัยเยาว์เข้าไปยังห้องสมุด ผมยาวดำขลับเส้นหนาที่ถักเป็นเปียนูนดูเรียบร้อยของเธอช่างต่างกับผมเส้นเล็กสีอ่อนอันยุ่งเหยิงของข้าพเจ้าในยามนั้นชัดเจน เธอพาข้าพเจ้าเดินผ่านครูบรรณารักษ์เข้ามาถึงชั้นหนังสือ
“บาดแผลของคนจน” : มายาคติเกี่ยวกับภาษีของคนรวยและคนจน
งบประมาณประจำปีประมาณ 3 ล้านล้านบาท ซึ่งเป็นรากฐานการเงินของประเทศนั้นมาจากระบบการเก็บภาษีจากประชาชนทุกคนถึง 88.6% นอกจากนั้นคือหน่วยงานอื่นๆ ที่สร้างรายได้เข้ารัฐ เช่น รัฐวิสาหกิจ อีก 11.4% จากค่าเฉลี่ยปี 2535-2564
นี่โอชันเนียใน 1984 หรือประเทศไทยกันแน่?
วรรณกรรม 1984 อำนาจรัฐ การจำกัดเสรีภาพ ทุนนิยม ซึ่งทั้งหมดยังคงเป็นประเด็นร่วมสมัย แม้ว่าวรรณกรรมเล่มนี้จะตีพิมพ์มาแล้วกว่าหลายทศวรรษ
GRID • DATE
ปารีสคอมมูน 1871 : เมื่อมนุษย์พยายามสร้างสังคมไร้การกดขี่
ประชาธิปไตยไทยล้มลุกคลุกคลานไม่ใช่เพราะ “ชิงสุกก่อนห่าม” แต่เพราะการกลับมาของฝ่ายนิยมเจ้าในการรัฐประหาร 2490
ข้อเสนอที่มาก่อนกาลของขุนพลภูพาน ‘เตียง ศิริขันธ์’ ในการจัดการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
หลักการห้ามผลักดันกลับและปัญหาในทางปฏิบัติต่อผู้ลี้ภัยในระบบกฎหมายไทย
แนะนำหนังสือ : A Brief History of Equality โดยโทมัส ปิเกตตี้
หนึ่งวันของทนายความศูนย์ทนายฯ: เมื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตการทำงาน
นี่โอชันเนียใน 1984 หรือประเทศไทยกันแน่?
ประวัติศาสตร์ของทุกคน ตอนที่ 5: บันทึกทูตญี่ปุ่นผู้เห็นการปฏิวัติ 2475
El Conde: เผด็จการทหารยังไม่ตาย มันอยู่ในระบบการปกครอง
ICONS
- Using PHP Function
<?php seed_icon('ICON_NAME'); ?>
, such as<?php seed_icon('activity'); ?>
. - Using Shortcode
[s_icon i="ICON_NAME"]
, such as[s_icon i="activity"]
.